จีดีพีไทยไตรมาส 3 โตต่ำ 1.5% จากส่งออกหดตัวหนัก ฉุดภาคการผลิตวูบ

ท่องเที่ยวพระเอกดันเศรษฐกิจ "กสิกรไทย" คงเป้า จีดีพีไทยปี 66 โต 3.7%

กรุงศรี หั่นเป้า GDPไทย ปีนี้66 เหลือ 3.3% เหตุรัฐใช้จ่ายลด-การลงทุนล่าช้า

สภาพัฒน์ แนะปรับโครงสร้างใหม่เศรษฐกิจไทย หนุนโตระยะยาว มองเงินดิจิทัลยังไม่ชัด

เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2566 สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ จีดีพี (GDP) ในไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัว 1.5% YoY (ต่ำกว่าที่นักวิเคราะการณ์ที่2.2%)ชะลอตัวลงจาก 1.8% YoYในไตรมาสก่อนหน้า โดยปัจจัยหลักมาการส่งออกสินค้าลดลง การผลิตในประเทศลดลง รวมถึงการอุปโภคภาครัฐลดลง ในขณะที่ภาคบริการรับการยังคงขยายตัวจากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้รวม 9 เดือนแรกของปี 66 GDP ไทย ขยายตัว 1.9%

โดยในด้านส่งออกสินค้า ลดลง 3.1% เป็นการลดลง 3 ไตรมาสติดต่อกันของปีนี้ จากการลดลงของการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม โดยเฉพาะสินค้ากลุ่มชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมสำคัญ ๆ เช่น น้ำมันปาล์ม เครื่องปรับอากาศ ผลิตภัณฑ์โลหะ และเคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี

ด้านการนำเข้า ลดลง 11.8% จากการนำเข้าวัตถุดิบลดลง โดยเฉพาะการนำเข้าชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และแผงวงจรรวม

ด้านการผลิต ขยายตัว 1.5% ชะลอลงจาก 1.8% ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลจากภาคเกษตรขยายตัวลดลง และภาคอุตสาหกรรมลดลง 2.8% เนื่องจากความต้องการสินค้าในต่างประเทศลดลง

ด้านการอุปโภคภาครัฐลดลง 4.9% จาก 4.3% ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากในปีนี้ไม่มีการโอนเงินค่ารักษาพยาบาลโรคโควิด-19

ทั้งนี้ สศช.ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 66 จะเติบโต 2.5% และในปีหน้า 67 คาดว่าจะเติบโตอยู่ที่ 2.7-3.7% จากการกลับมาขยายตัวของภาคการส่งออก การลงทุนภาคเอกชน การอุปโภคภายในประเทศ และการฟื้นตัวของการท่องเที่ยว

ขณะที่ในปี 67 ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากกระบวนการงบประมาณปี 2567 ของรัฐบาลที่ล่าช้า ภาระหนี้ของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจยังอยู่ในเกณฑ์สูง ผลกระทบจากภัยแล้งส่งต่อการผลิตภาคเกษตรกร รวมถึงเศรษฐกิจและการค้าโลกชะลอตัว

ด่วนคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง! 4 คนร้ายบุกยิงนักเรียนช่างภายในซ.ระนอง 2 เสียชีวิต 1 ราย

โดดเด่นบนเวที Miss Universe! “ชุดเทพธิดาอาณาจักรอยุธยา“ ถูกเลือกลงหนังสือพิมพ์ ”เอลซัลวาดอร์“

มอเตอร์เวย์ M81 “บางใหญ่ – กาญจนบุรี” เตรียมเปิดทดลองใช้ฟรีปลายปี

 จีดีพีไทยไตรมาส 3 โตต่ำ 1.5% จากส่งออกหดตัวหนัก ฉุดภาคการผลิตวูบ